ใจสั่น สั่นพลิ้ว แล้วไง
อาการใจสั่นที่เกิดขึ้นทันทีทันใด ไม่สัมพันธ์ กับ การออกแรงและสามารถหาย
ได้เอง มักแยกอาการแตกต่างกันขณะที่มีและไม่มีอาการใจสั่น หากสังเกตได้
ว่าอัตราการเต้น ของหัวใจเร็วกว่าปกติมากเกิน 100 ครั้งต่อนาที
อาการใจสั่นเป็นความรู้สึกต่อการเต้นของหัวใจ อาจจะเต้นผิดปกติก็ได้ ทั่ว
ไปมักไม่รู้สึกถึงการเต้นของหัวใจ ภาวะที่หัวใจบีบตัวแรง หัวใจเต้นอัตรา ที่
เร็วมาก ขณะออกกำลังกาย ในภาวะมีสิ่งกระตุ้นใด ๆ อาจเกิดอาการใจสั่น
ในขณะจะเข้านอน การเต้นของหัวใจ อาจทำให้สงสัยว่าหัวใจ เกิดความผิด
ปกติที่หัวใจ
อาการใจสั่นที่อาจเกิดจากความผิดปกติของการเต้นของหัวใจหรือโรคหัวใจ
1. ใจสั่น
2. หน้ามืด
3. เป็นลมหมดสติ
4. เจ็บแน่นหน้าอก
5. เหนื่อยหอบกว่าปกติ
6. บ่งบอกถึงโรคหัวใจรุนแรง
อาการใจสั่นที่เกิดร่วมกับจังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
อาการใจสั่นในผู้ที่ทราบว่าเป็นโรคหัวใจอยู่แล้ว ผู้ป่วยที่เคยมีกล้ามเนื้อหัวใจ
ตายจากหลอด เลือดอุดตัน หัวใจโตล้มเหลว หัวใจผิดปกติแต่กำเนิด อาการ
ใจสั่นในผู้ที่มีประวัติ คนใน ครอบครัวใกล้ชิดเป็นโรคหัวใจ โดยเฉพาะการเสีย
ชีวิตกะทันหันก่อนวัยอันควร
การตรวจโรคหัวใจต้องตรวจจากเครื่องมือแพทย์เท่านั้น
1. การตรวจร่างกาย
2. การตรวจเอกซเรย์เงาปอด และ หัวใจ
3. การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อ
หากสงสัยว่าเป็นหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
– ตรวจการเต้นของหัวใจ ด้วยการเดิน วิ่ง สายพานเลื่อน
– สงสัยว่าความผิดปกติของหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจหนา หัวใจโต กล้ามเนื้อ
หัวใจอ่อนแรง ลิ้นหัวใจตีบ-รั่ว ผนังกั้นหัวใจรั่ว โรคของเยื่อหุ้มหัวใจ ตรวจ
ด้วยเครื่องตรวจคลื่นเสียง สะท้อนหัวใจ
ส่วนหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือไม่
การเต้นผิดจังหวะของหัวใจได้ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ช่วยใน การจับชีพจร นับ
อัตราการเต้นของชีพจรในระยะเวลา 1 นาที สังเกตจังหวะของชีพจรว่า
ชีพจรเร็วกว่าปกติ หรือ ไม่ ชีพจรสม่ำเสมอ หรือ เร็วช้าไม่สม่ำเสมอ
ที่สงสัยมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจเกิดอาการไม่บ่อยอาจส่งตรวจด้วย
เครื่องตรวจคลื่น ไฟฟ้าหัวใจ ต่อเนื่องที่สามารถพกพาติดตัวและบันทึกคลื่น
ไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วย ต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานานๆ ได้ใน24-48 ชั่วโมง
(ECG)
แนวทางการดูแล/ป้องกัน ขึ้นอยู่กับผลตรวจหัวใจการเต้นผิดจังหวะหรือไม่
1. หัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นชนิดใด มีสาเหตุจากโรคหัวใจ ความผิดปกติต้อง
ดูแลสาเหตุ โรคหลอดเลือดหัวใจ ดูแลด้วยการกินยาช่วย
2. หากหลอดเลือดหัวใจตีบมาก ต้องได้รับการดูแลด้วยการขยายหลอด
เลือดหัวใจ การทำบอลลูน หรือ การถ่างหลอดเลือดด้วยขดลวด
ภาวะหัวใจเต้นเร็ว บ่อยครั้งที่ไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจ แต่เกิดจากความผิด
ปกติภาวะต่อม ไทรอยด์เป็นพิษ ภาวะเลือดจาง ภาวะขาดน้ำ และ เกลือแร่
จากโรคท้องร่วง เสียเลือดมาก ได้รับการดูแลภาวะหัวใจเต้นเร็วก็จะกลับสู่
ปกติ ไม่ต้องใช้ยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ
การดูแลภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะอาจให้การป้องด้วยวิธีการต่าง ๆ
1. ยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ ทำให้หัวใจเต้นช้าลง ทำให้ภาวะหัวใจเต้น
ผิดจังหวะน้อยลง ทำให้อาการใจสั่น ลดลง การรับประทานยาต้านหัวใจ
เต้นผิดจังหวะ ไม่ทำให้หายขาดได้
2. การรักษาด้วยการใส่สายสวนเข้าทางหลอดเลือดไปในหัวใจ หาตำแหน่ง
ที่ก่อนทำการจี้ทำลายจุดเล็กๆ ที่ผิดปกติ เป็นวิธีที่สามารถดูแล ภาวะหัวใจ
เต้นผิดจังหวะ ให้หายขาดได้ไม่ต้องกินยาอีก ลดการใช้ยาลงได้มาก
3. การใช้ไฟฟ้ากระแสตรงความต่างศักย์สูง ช็อกผ่านผิวหนังหน้าอกผ่าน
หัวใจ การแก้ไข หัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิด โดยเฉพาะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ที่เร็วมาก สั่นพลิ้วในภาวะฉุกเฉินที่หัวใจเต้นผิดจังหวะ ทำให้ความดันเลือด
ลดลงอย่างมาก ตรวจจับความดันและ ชีพจรไม่ได้
4. การผ่าตัดฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้าให้จังหวะหัวใจ สำหรับภาวะหัวใจเต้นช้า
มาก เครื่อง กระตุกช็อกไฟฟ้าอัตโนมัติชนิดฝังในตัว ผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิด
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ รุนแรงจากหัวใจห้องล่าง ผู้ที่มีโรคกล้ามเนื้อหัวใจ
อ่อนแรง หัวใจล้มเหลว ใช้กระตุกช็อกไฟฟ้าหัวใจในทันที(ภายในไม่กี่วินาที)
หากเกิดภาวะหัวใจเต้น ผิดจังหวะรุนแรงจากหัวใจห้องล่าง
พบทางออกการบำบัด หัวใจสั่นพลิ้ว หัวใจเต้นผิดจังหวะด้วย
www.gelcremo.com/gel-product/gel-hrt
ขอขอบคุณข้อมูลดีเลิศจาก
– ศูนย์หัวใจพญาไท โรงพยาบาลพญาไท 1
– นายแพทย์สุรพงศ์ อำพันวงษ์
– ภาพจากคุณชุมพร(ผู้ป่วยติดเครื่องกระตุ้นหัวใจ)