6 ปัจจัยเสี่ยงการเกิดมะเร็งสมอง และการรักษา
6 ปัจจัยเสี่ยงการเกิดมะเร็งสมอง และการรักษา
เคยสงสัยกันไหมว่า ทำไมคนเราถึงป่วยเป็นโรคต่างๆ มากมาย และยิ่งในปัจจุบัน อาการยอดฮิตอันดับต้นๆ ที่คนมักเป็นกันก็คือ “มะเร็ง” มะเร็งเป็นอาการผิดปกติของร่างกายที่มีมานานแล้วไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้น แต่ก็ยังไม่สามารถหาสาเหตุที่แน่ชัดได้
ใครได้ยินคำว่า มะเร็ง ยังรู้สึกจิตตกเลย หากพูดถึง “มะเร็งสมอง” ยิ่งรู้สึกหดหู่ กลัว กังวล จนแทบล้มทั้งยืน เพราะไม่รู้จะรับมือยังไง แล้วยังต้องเจอกับอาการที่มักจะเป็น คือปวดหัวอย่างรุนแรง โดยอาการปวดหัวเรื้อรังส่วนมากมักเป็นในช่วงตื่นนอนในตอนเช้า หรือช่วงนอนหลับในตอนกลางคืน และหากก้อนเนื้อโตขึ้นอาการปวดหัวก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนอาจทำให้เกิดอาการอาเจียนร่วมด้วย ในบางรายอาจมีอาการชักซึ่งอาการชักนั้นอาจจะชักทั้งตัวหรือชักเพียงบางส่วน แม้ในขณะนั้นจะไม่มีไข้ อาจมีปัญหาทางด้านสายตา แขนขาข้างเดียวกันอ่อนแรงจนถึงอาจมีลักษณะทรงตัวไม่ค่อยได้
หากดูจากสถิติการเสียชีวิตของสำนักงานสถิติแห่งชาติแล้ว การเสียชีวิตอันดับ 1 ที่รองจากอุบัติเหตุ ก็คงจะหนีไม่พ้นมะเร็ง และในส่วนของมะเร็งสมองนั้น จากสถิติแล้วแม้จะพบได้ไม่ค่อยมากนัก แต่หากพูดถึงเรื่องการรักษานั้น นับว่ารักษายากที่สุดเป็นอันดับต้นๆ
จากอาการของผู้ป่วยมะเร็งสมองข้างต้น หลายท่านคงรู้สึกกลัว และวิตกกังวล เพราะคนส่วนใหญ่ที่ไปหาหมอแล้วพบว่าตนเองเป็นมะเร็ง ก็มักจะอยู่ในระยะที่ 3 หรือที่ 4 แล้ว เราจึงควรตรวจสอบเบื้องต้นก่อนว่าเรามี ปัจจัยเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งสมองหรือไม่
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดเนื้องอกในสมอง หรือ มะเร็งสมอง
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม หรือสมาชิกในครอบครัวมีประวัติการเกิดมะเร็งสมองซึ่งความผิดปกติทางพันธุกรรมนั้นมีทั้งชนิดที่ไม่สามารถถ่ายทอดกันได้และชนิดที่ถ่ายทอดได้ แต่อย่างไรก็ตามเนื้องอก หรือมะเร็งชนิดที่ถ่ายทอดได้นั้นพบได้น้อยมาก เพียงแต่โอกาสในการเป็นเนื้องอกหรือมะเร็งสมองสูงกว่าคนทั่วๆไปเท่านั้น ไม่ใช่ญาติพี่น้องทุกคนจะต้องเป็น
เกิดจากสิ่งแวดล้อม เช่น การสัมผัสสารเคมีกัมมันตภาพรังสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบบต่อเนื่อง การฉายรังสีที่สมองในวัยเด็ก ได้รับสารพิษจากโรงงานกลั่นน้ำมันหรือโรงงานผลิตยาง รวมไปถึงยากำจัดศัตรูพืชที่อาจก่อให้เกิดมะเร็ง
อายุที่เพิ่มมากขึ้น ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งสมอง และเป็นอาจแพร่กระจายจากจุดอื่นมายังสมอง มากกว่าคนอายุน้อย
การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น เชื้อไวรัสเอชไอวี(HIV)
เป็นมะเร็งในส่วนอื่นๆของร่างกาย เช่น มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งไต มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น ปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ทำให้เกิดมะเร็งในอวัยวะส่วนอื่นๆ ก็ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะเพิ่มโอกาสให้มีมะเร็งแพร่กระจายมาที่สมองเพิ่มขึ้นได้ด้วย
อื่นๆ เช่น การวางโทรศัพท์ไว้บนหัวเตียงแม้ไม่ได้ใช้งาน การใช้โทรศัพท์เป็นเวลานาน
ดังนั้นหากเราคิดว่าเรามีปัจจัยเสี่ยง เพียงข้อใดข้อหนึ่งใน 7 ข้อนี้ เราควรไปพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ เพื่อจะได้ป้องกันและรักษาได้ทันก่อนที่มะเร็งจะลุกลามไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย แต่หากเราเป็นผู้ป่วยมะเร็งสมองแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ ต้องทำการรักษา
การรักษามะเร็งสมองในทางการแพทย์นั้น มีวิธีการรักษาหลักๆร่วมกันดังต่อไปนี้
การผ่าตัด หากก้อนเนื้ออยู่ในตำแหน่งที่สามารถผ่าตัดออกได้ โดยไม่เป็นอันตรายต่อความพิการและชีวิตผู้ป่วย แพทย์มักจะผ่าตัดก้อนเนื้อออกให้หมด หรือผ่าตัดออกให้มากที่สุด เพื่อลดขนาดของเนื้องอกหรือมะเร็ง
การใช้รังสีรักษา มักใช้เป็นการรักษาหลักในผู้ป่วยที่ไม่สามารถผ่าตัดก้อนเนื้อได้ หรือใช้เป็นการรักษาเพิ่มเติมจากการผ่าตัด ในกรณีที่ไม่สามารถผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกได้หมด
ยาเคมีบำบัด ซึ่งจะใช้เฉพาะกับผู้ป่วยเนื้องอกหรือมะเร็งสมองชนิดที่ตอบสนองต่อยาเคมีบำบัดซึ่งมีเพียงไม่กี่ชนิดเท่านั้น และยามีราคาแพงมหาศาลเกินกว่าผู้ป่วยทุกคนจะใช้รักษาได้
ภูมิคุ้มกันบำบัด (Immunotherapy) เป็นการอาศัยการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาใช้ในการบำบัด โดย ภูมิคุ้มกันบำบัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
ภูมิคุ้มกันบำบัดโดยการฉีด เป็นการให้สารภูมิต้านทานแอนติบอดี (Antibody) หรือ นำเซลล์ภูมิคุ้มกันของร่างกายไปดัดแปลงให้มีฤทธิ์ต่อสู้กับเซลล์มะเร็งได้ และยังรวมไปถึงการฉีดวัคซีนบางชนิดที่ผลิตจากเซลล์มะเร็ง ซึ่งในการบำบัดนี้ปัจจุบันกำลังอยู่ในการศึกษาทดสอบทางคลินิก
ภูมิคุ้มกันบำบัดโดยการกิน สารอาหารจากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติยับยั้งและต่อต้านการเกิดเซลล์มะเร็งได้ที่เรียกว่าสาหร่ายทะเลสีน้ำตาลมีสารอาหารที่มีชื่อว่า “ฟูคอยแดน (Fucoidan)” ซึ่งฟูคอยแดนนี้จะช่วยในเรื่องของการกำจัดเซลล์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ฟูคอยแดนสามารถจัดการกับดีเอ็นเอของเซลล์ร้ายได้
Fucoidan ได้ถูกตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ มากกว่า 900 เรื่อง และยังมีผลการวิจัยจากสถาบันที่ได้รับความเชื่อถือมากมาย อาธิ เช่น ม.แม่ฟ้าหลวง ม.มหิดล เป็นต้น
ในการฟื้นฟูมะเร็ง เรื่องที่หลายคนกลัว คือ การฉายรังสี การให้เคมีบำบัด และการผ่าตัด โดยเฉพาะการผ่าตัดมะเร็งที่สมองนั้น เป็นเรื่องที่หลายคนกังวลมาก การให้ยาเคมีบำบัดสามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้มากหากร่างกายไม่มีความพร้อมและต้องใช้เงินมากในการรักษา ส่วนการรักษาด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดที่ชื่อว่า “ฟูคอยแดน” นั้น มีอยู่ในผลิตภัณฑ์ ที่มีชื่อว่า Agel UMI
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คลิ๊ก!! cancer.gelgood.com/umi
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
คุณกฤษฎา (เดียร์) | Line : @gelgood | Tel : 087-661-2207